แอสตาแซนธิน คือ....อะไร...
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
เป็นสารในกลุ่มแซนโทรฟิลล์ / ตระกูลแคโรทีนอยด์ (Xanthophyll group / Carotenoid family)
พบได้ทั่วไปในธรรมชาติ เป็นสารสีแดง ที่พบใน ปลาแซลมอน ไข่ปลา
คาเวียร์ เปลือกกุ้งปู และ Microalgae Haematococcus Pluvialis ร่างกายไม่
สามารถสร้างสารชนิดนี้ได้ เราจะได้รับสารชนิดนี้จากอาหารที่รับประทานเข้าไป ใน
ปริมาณที่น้อยมาก
เช่น ปลาแซลมอน 200 กรัม จะมีแอสตาแซนธิน เพียง 1 มิลลิกรัม
รูปแสดงโครงสร้าง Astaxanthin
รูปแสดงลักษณะ Astaxanthin ที่พบใน Microalgae “Haematococcus Pluvialis”
สาหร่ายแดง Haematococcus pluvialis เป็นสายพันธุ์นํ้าจืดของ
สาหร่ายสีเขียวจากตระกูล Haematococcaceae โดยสายพันธุ์จะสกัดสารที่เป็นประโยชน์ ได้อย่างเข้มข้นที่สุดและเป็นที่รู้ จัก กันดีในเรื่องประสิทธิภาพของสารต้านอนุมูลอิสระที่แรงมาก นั้น คือสาร astaxanthin มีความแรงกว่าวิตามินซีถึง 6,000 เท่า มากกว่าวิตามินอี 1,000 เท่า แรงกว่า CoQ10 150 เท่า และมากกว่าเบต้าแคโรทีนอยด์ 40 เท่า เมื่อใช ้ในปริมาณที่เท่ากัน จนมีนักวิจัยบางคนเรียกสารนี้ว่าเป็น "ซุปเปอร์วิตามินอี"กันเลยทีเดียว
ว่ากันว่าใครที่ได ้ทาน สาหร่ายแดงจะทำให ้ชะลอวัยชรา ทำให้ผิวพรรณสดใสขึ้นแถมยังสร้างภูมิคุ้มกันให ้กับร่างกาย มีการนำ astaxanthin ไปใช ้ ประโยชน์ใน การดูแลและบำรุงผิวพบว่าในผู้ชายกว่า 75 เปอร์เซ็นต์ของผู้ ชายที่มีสุขภาพดีอยู่แล้ว รู้สึกว่าผิวบริเวณจมูกมีความสมดุลเพิ่มขึ้นหลังจากใช ้ astaxanthin 6 มก. ต่อเนื่องเป็นเวลา 45 วัน และ ขนาดของจุดด่างดำของวัยที่มากขึ้นลดลง 19 เปอร์เซ็นต์ หลังจากใช ้ แอสตาแซนธิน (astaxanthin) ต่อ
เนื่อง 60 วัน Astaxanthine สามารถต่อต้านการทำลายคอลลาเจน (collagen) จากรังสียูวีเอ (UVA) ได ้ ซึ่งเจ้า ยูวีเอ (UVA) นี่แหละที่เป็นตัวการสำคัญที่ทำให ้ การเกิดการแก่ชราของผิวหนัง
ความปลอดภัยเราสามารถบริโภคแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) ได้อย่างปลอดภัยเนื่องจากสารชนิดนี้เป็นส่วนหนึ่งในอาหารของมนุษย์มานานหลายพันปีแล้ว ตัวอย่างเช่น ในปลาแซลมอนคุณภาพดีจะมีแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) บริสุทธิ์ประมาณ 3 - 6 มิลลิกรัม
มีการทดลองทางคลินิก โดยรับประทานสารแอสตาแซนธิน จาก Microalgae Haematococcus Pluvialis มากถึง 40 มิลลิกรัมเป็นประจำทุกวัน เป็นเวลา 4 สัปดาห์ติดต่อกัน โดยไม่พบผลข้างเคียงใดๆและจากการทดสอบ Full Acute & Sub Chronic, Ames Test & Gene Toxicity และการค้นหาเอกสารทางวิชาการทั่วโลกนั้นไม่พบรายงานที่มีผลข้างเคียงในทางลบ
และจากข้อมูล มีการนำ Microalgae Haematococcus Pluvialis ซึ่งมีสารแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) อยู่เป็นจำนวนมาก นำมาสกัดเป็นอาหารเสริมและได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในพื้นที่แถบสแกนดิเนเวีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995 และสารแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) มีการวางจำหน่ายอย่างแพร่หลายในตลาดตั้งแต่ปีค.ศ. 1999 จนถึงปัจจุบัน
ปัจจุบันแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) เป็นสารที่มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระได้ดีที่สุด แอสตาแซนธิน (Astaxanthin) จึงเป็นสารต้านอนุมูลอิสระทางเลือกใหม่ ที่ให้ได้มากกว่าสารต้านอนุมูลอิสระชนิดอื่นๆ
มีผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ทำการศึกษาประสิทธิภาพของสารต้านอนุมูลอิสระชนิดต่างๆ พบว่า แอสตาแซนธิน (Astaxanthin) มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระได้แรงกว่า
- วิตามิน ซี 6,000 เท่า
- CoQ10 800 เท่า
- วิตามิน อี 550 เท่า
- Green tea catechins 550 เท่า
- Alpha lipoic acid 75 เท่า
- เบต้า แคโรทีน 40 เท่า
- สารสกัดจากเมล็ดองุ่น 17 เท่า
ประโยชน์ของสารแอสตาแซนธิน
นอกจากเป็นสารต้านอนุมูลอิสระได้ดีเยี่ยม ยังมีประโยชน์ต่อร่างกายในด้านต่างๆดังนี้
● ช่วยให้ผิวคงความอ่อนวัย ลดริ้วรอย ความหย่อนคล้อยและจุดด่างดำ
● ช่วยบำรุงสายตา ลดอาการเมื่อยล้าของสายตาจากการใช้คอมพิวเตอร์
● ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อร่างกาย
● ช่วยดูแลสุขภาพกระเพาะอาหาร
● ลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เส้นเลือดในสมองแตก
● ช่วยให้ผิวคงความอ่อนวัย ลดริ้วรอย ความหย่อนคล้อยและจุดด่างดำ
● ช่วยบำรุงสายตา ลดอาการเมื่อยล้าของสายตาจากการใช้คอมพิวเตอร์
● ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อร่างกาย
● ช่วยดูแลสุขภาพกระเพาะอาหาร
● ลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เส้นเลือดในสมองแตก
ใครบ้างที่ควรรับประทานสารต้านอนุมูลอิสระแอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
● ผู้ที่ใส่ใจในสุขภาพทุกเพศทุกวัย
● ผู้ที่ใส่ใจในความงามและสุขภาพผิว
● ผู้ที่ต้องเผชิญกับมลภาวะต่างๆเป็นประจำเช่นความเครียด ฝุ่นควันจากท่อไอเสียรถยนต์ เป็นต้น
● ผู้ที่ต้องทำงานใช้สายตากับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
● นักกีฬาและผู้ที่ออกกำลังกายเป็นประจำ
● ผู้ที่ใส่ใจในความงามและสุขภาพผิว
● ผู้ที่ต้องเผชิญกับมลภาวะต่างๆเป็นประจำเช่นความเครียด ฝุ่นควันจากท่อไอเสียรถยนต์ เป็นต้น
● ผู้ที่ต้องทำงานใช้สายตากับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
● นักกีฬาและผู้ที่ออกกำลังกายเป็นประจำ
มาดูงานวิจัย การทดลอง กันบ้างนะคะ
แอสตาแซนธิน ทำให้ เยื้อหุ้มไข่ แข็งแรงขึ้น จริงหรือ มาดูกันค่ะ....
สุดสุด....เลยความผลของแอสตาแซนธิน ที่มีต่อ เซลล์
แล้วสารตัวนี้ ช่วยทำให้เซลล์ลดการสร้างอนุมูลอิสระ ได้ เห็นได้จาก สีของแอบเปิ้ล
References1. Nishida Y.et.al, Quenching Acitivities of Common Hydrophillic and Lipophillic Antioxidants against Singlet Oxygen Using Chemiluminescence Detection System. Carotenoid Science 11: 16-20 (2007)
2. Miki, W., Biological functions and activities of animal carotenoids. Pure and Appl.Chem 1991 ; 63:141-6
3. Shimizu, N., et al., Carotenoids as singlet oxygen quenchers in marine organisms. Fisheries Sci. 1996; 62: 134-7
4. Fuji Chemical Industry Co., Ltd., Outsourced test by Collaborative Labs, Setauket, NY 2001
5. Yamashita,(2006) The Effects of Dietary Supplement Containing Astaxanthin on Skin Condition. Carotenoid Science 10:91-95
6. Nagaki et al., (2006) .The supplementation effect of astaxanthin on accommodation and asthenopia.J.Clin. Therap.Med.,22(1):41-54.
7. Sawaki,K.et al.(2002) Sports performance benefits from taking natural astaxanthin characterized by visual activity and muscle fatigue improvements in humans.Journal of Clinical Therapeutics & Medicine 18(9):73-88.
8. Kupcinskas et al., Efficacy of the antioxidant astaxanthin in the treatment of functional dyspepsia in patients with or without Helicobacter pylori gastritis: a propective, randomized ,double blind, and placebo controlled study .Eur.J.Gastroent and Hepat.,(In Press).
9. Hiroshige Itakura, Astaxanthin Defends and Subdues Active Oxygen, Heart publishing co.,ltd, 21.
2. Miki, W., Biological functions and activities of animal carotenoids. Pure and Appl.Chem 1991 ; 63:141-6
3. Shimizu, N., et al., Carotenoids as singlet oxygen quenchers in marine organisms. Fisheries Sci. 1996; 62: 134-7
4. Fuji Chemical Industry Co., Ltd., Outsourced test by Collaborative Labs, Setauket, NY 2001
5. Yamashita,(2006) The Effects of Dietary Supplement Containing Astaxanthin on Skin Condition. Carotenoid Science 10:91-95
6. Nagaki et al., (2006) .The supplementation effect of astaxanthin on accommodation and asthenopia.J.Clin. Therap.Med.,22(1):41-54.
7. Sawaki,K.et al.(2002) Sports performance benefits from taking natural astaxanthin characterized by visual activity and muscle fatigue improvements in humans.Journal of Clinical Therapeutics & Medicine 18(9):73-88.
8. Kupcinskas et al., Efficacy of the antioxidant astaxanthin in the treatment of functional dyspepsia in patients with or without Helicobacter pylori gastritis: a propective, randomized ,double blind, and placebo controlled study .Eur.J.Gastroent and Hepat.,(In Press).
9. Hiroshige Itakura, Astaxanthin Defends and Subdues Active Oxygen, Heart publishing co.,ltd, 21.
ผู้เขียน กัญชลกรณ์ จิตรหิริญเสนี
d network by wawa